วันอังคารที่ 5 มีนาคม พ.ศ. 2556

การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช




อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง

อุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง


ผลการทดลองโครงงานการเพาะเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย


เมื่อทดลองการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย  โดยการทดลองกับหม้อนึ่งความดันไอและหม้อนึ่งธรรมดา  ใช้อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ  สูตร  MS (Murashige  and  skoog, 1962) ในขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จำนวน 20 ขวดระยะเวลา 2 สัปดาห์ พบว่ามีให้ผลการเกิดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ ที่ออกมาใกล้เคียงกันดังตารางที่ 1 และ 2 ตามลำดับ

                       ตารางที่  1 ทดสอบเปรียบเทียบการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย  โดยทดลองกับหม้อนึ่งความดันไอและหม้อนึ่งธรรมดา ในสัปดาห์แรก

จากตารางที่ 1 พบว่า  ทดสอบเปรียบเทียบการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย  โดยทดลองกับหม้อนึ่งความดันไอและหม้อนึ่งธรรมดา ในสัปดาห์แรกนั้น ระยะเวลาในการอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ  สูตร  MS (Murashige  and  skoog, 1962) การเกิดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ของหม้อนึ่งความดันไอจะเกิดเชื้อราในวันที่ 5 ของการทำการทดลองเป็นจำนวน 2 ขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช และการเกิดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ของหม้อนึ่งธรรมดาจะเกิดเชื้อราในวันที่ 3 ของการทำการทดลองเป็นจำนวน 1 ขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

                        ตารางที่  2  ทดสอบเปรียบเทียบการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย  โดยทดลองกับหม้อนึ่งความดันไอและหม้อนึ่งธรรมดา  โดยใช้อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ในสัปดาห์ที่สอง

จากตารางที่  
2 พบว่า  ทดสอบเปรียบเทียบการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย  โดยทดลองกับหม้อนึ่งความดันไอและหม้อนึ่งธรรมดา  โดยใช้อาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ ในสัปดาห์ที่สองนั้น ระยะเวลาในการอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ  สูตร  MS (Murashige  and  skoog, 1962) การเกิดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์จะเกิดขึ้นและเห็นความชัดเจนมากกว่าสัปดาห์แรกที่ทำการทดลองซึ่งในสัปดาห์ที่สองนั้นการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ของหม้อนึ่งความดันไอจะเกิดเชื้อราในวันที่ 9,10 และ 13 ตามลำดับ ของการทำการทดลองเป็นจำนวน 5 ขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชและการเกิดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ของหม้อนึ่งธรรมดาจะเกิดเชื้อราในวันที่ 10 และ  13 ของการทำการทดลองเป็นจำนวน 3 ขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

       หมายเหตุ   /        การเกิดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์
                         -         ไม่การเกิดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์
                         ( - )
      จำนวนการเกิดการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ในขวดเพาะเลี้ยง



วันจันทร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2556

การทดลองการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชอย่างง่าย

1.ชั่งสารเตรียม Stock 


2.ใช้ปิเปตดูดสารและเติมน้ำตาลทราย


3.ปรับปริมาตร และปรับ pH  (5.6 -5.8)
4.เคี่ยวหลอมวุ้นให้ละลาย

5.เติมฮอร์โมนตามสูตร ms แล้วบรรจุอาหารลงในขวดเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

6.นำขวดอาหารลงหม้อนึ่งความดันไอ
7.นึ่งฆ่าเชื้อที่ความดัน  15  ปอนด์/ตารางนิ้ว อุณหภูมิ  121 องศาเซลเซียส เป็นเวลา  15  นาที